คลังเรื่องเด่น
-
"วิธีทำกัมมัฏฐาน" (หลวงปู่ขาว อนาลโย)
.
"วิธีทำกัมมัฏฐาน"
" .. "พระพุทธเจ้าท่านสอนให้เราถือศีลก่อน ศีลทำให้กาย วาจาสงบ แล้วจึงทำสมถภาวนาให้จิตใจสงบ" ครั้นภาวนาจนจิตสงบสงัดดีแล้ว "ก็ใช้ปัญญาคิดค้นคว้าสกนธ์กายนี้ เรียกว่าทำกัมมัฏฐาน"
พระพุทธเจ้าว่า "ธรรมะไม่อยู่ที่อื่น อยู่ที่สกนธ์กายของทุกคน" คนหมดทุกคนก็แม่นธรรมหมดทั้งก้อน "แม่นก้อนธรรมหมดทุกคน พระพุทธเจ้าว่าธรรมไม่อยู่ที่อื่น" ไม่ต้องไปหาที่อื่น "มันอยู่ในสกนธ์กายของตนนี้" ดูจิตใจของตนนี้ให้มันเห็นความจริงของมัน .."
คัดลอกจากหนังสือ "อนาลโยวาทะ"
(หลวงปู่ขาว อนาลโย)
จัดพิมพ์เป็นธรรมทาน โดย นพ. อวย – ส่งศรี เกตุสิงห์ -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอังคารที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอังคารที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๘ -
พระสุนทรีนันทาเถรี | ผู้เลิศของภิกษุณีทั้งหลายผู้ได้ฌาน/เอตทัคคะ
พระสุนทรีนันทาเถรี | ผู้เลิศของภิกษุณีทั้งหลายผู้ได้ฌาน #เอตทัคคะ
ที่มา มูลนิธิอุทยานธรรม
https://www.youtube.com/@Uttayarndham -
พระคาถาชินบัญชร
พระคาถาชินบัญชร
รากศัพท์ของคำว่า "คาถา" มาจากภาษาบาลีว่า "กถา" แปลว่า "วาจาเป็นเครื่องกล่าว" ดังนั้น...คำพูดของคนเราทุกคำก็คือคาถาทั้งสิ้น แต่คาถาในความเข้าใจของทุกคน ไม่ใช่ความหมายเช่นนั้น...
คาถาที่เรารู้จักคือถ้อยคำอันศักดิ์สิทธิ์ ที่สามารถแสดงผลอันวิเศษแก่ผู้ที่ยึดถือท่องบ่น ในบรรดาคาถาที่ท่านผู้รู้ผูกขึ้นมานั้น พระคาถาชินบัญชรของสมเด็จพุฒาจารย์โต หรือหลวงพ่อโต วัดระฆัง นับว่าแพร่หลายที่สุด... คาถาชินบัญชรนี้เพียบพร้อมไปด้วยอรรถ และฉันทลักษณ์ ทั้งยังคงความเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ยิ่ง พระเครื่องสมเด็จวัดระฆังที่ลือลั่นสนั่นเมือง ก็ปลุกเสกด้วยคาถานี้เอง... แต่ว่า...พระคาถาชินบัญชรนี้ก็ยังมีแปลกแตกต่างไปหลายฉบับ บางฉบับก็เพิ่มมาหนึ่งบท บางฉบับก็หดหายไปสองบรรทัด คาถาบางตัวก็ผิดเพี้ยนกันไป แต่นั่นไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร...
ความศักดิ์สิทธิ์ของคาถานั้น ขึ้นอยู่กับสมาธิจิตของผู้ท่องบ่น ต่อให้คาถาผิดพลาดเพียงไรก็ตาม หากจิตเป็นสมาธิแนบแน่นมั่นคงเสียแล้ว ผลก็เป็นไปตามการอธิษฐานทุกประการ... หากท่านผู้อ่านตัดความตะขิดตะขวงใจในตัวคาถาเสีย ตั้งใจท่องบ่นอย่างจริงจัง... -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันจันทร์ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันจันทร์ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๘ -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอาทิตย์ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอาทิตย์ที่ ๙ มีนาคม ๒๕๖๘ -
ร้อยโทตายแล้วฟื้น หมอเอาศพไปไว้ห้องดับจิต ในหลวงเสด็จมาทอดพระเนตร ท่านตรัสว่า "เขายังไม่ตาย"
ที่มา ช่องยูทูบนิมิตพิศวง -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันเสาร์ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันเสาร์ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๘ -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันศุกร์ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันศุกร์ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๘ -
"ที่เกิด ที่ดับแห่งธรรม" (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)
.
"ที่เกิด ที่ดับแห่งธรรม"
" .. การปฏิบัติธรรม ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปไหน "ในเมื่อกายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ นี้แลเป็นตัวธรรม เป็นตัวโลก เป็นที่เกิดแห่งธรรม เป็นที่ดับแห่งธรรม" เป็นที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้อาศัยบัญญัติไว้ซึ่งธรรมทั้งปวง
"แม้ใครใคร่จะปฏิบัติธรรม ก็ต้องปฏิบัติที่กายและใจนี้ หาได้ปฏิบัติที่อื่นไม่" ดังนั้น ถ้าตั้งใจจริงแล้ว "นั่งอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น นอนอยู่ที่ไหน ยืนอยู่ที่ไหน เดินอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น" .. "
พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันพฤหัสบดีที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันพฤหัสบดีที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๘ -
เราต้องหาประโยชน์จากสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในด้านธรรมะให้ได้
สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เราต้องหาประโยชน์ในด้านธรรมะให้ได้ หลักการสำคัญที่สุดก็คือ อะไรจะเกิดขึ้นก็ตาม เราต้องรักษาความผ่องใสของใจเอาไว้ให้ได้ อย่าได้หวั่นไหวไปกับสิ่งต่าง ๆ รอบข้าง อะไรที่ดีเกิดขึ้นกับเรา จิตใจก็อย่าฟูมากนัก อะไรที่ร้ายเกิดขึ้นกับเรา ก็อย่าห่อเหี่ยวแฟบฟุบมากจนเกินไป รักษาสภาพจิตของเราให้มั่นคง แน่วนิ่ง ไม่หวั่นไหว ไม่ยินดีและไม่ยินร้าย ถ้าทำอย่างนั้นได้โอกาสที่เราจะหลุดพ้นจากกองทุกข์นี้จึงจะมีขึ้นมาได้
...................................
พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน
www.watthakhanun.com -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันพุธที่ ๕ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันพุธที่ ๕ มีนาคม ๒๕๖๘ -
"ให้เพ่งดูใจของตนเอง" (สมเด็จพระสังฆราชเจ้าฯ)
.
"ให้เพ่งดูใจของตนเอง"
" .. ไม่ว่ามีอารมณ์โลภหรือโกรธหรือหลงก็ตาม "หากเพ่งดูใจของตนเองให้เห็นอารมณ์นั้นแล้วอารมณ์นั้นจะหมดไปได้ ความสุขจะมาแทนที่ทำให้มีใจสบาย" .. "
"พระคติธรรม"
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอังคารที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอังคารที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๘ -
วิธีฝึกกรรมฐานพุทธานุสติที่เห็นผล
วิธีฝึกกรรมฐานพุทธานุสติที่เห็นผล
ที่มา https://www.youtube.com/@Sanha2566 -
การกำหนดภาพพระ
การกำหนดภาพพระ
พระอาจารย์กล่าวสอนโยมว่า "สำหรับทิดโอต้องมั่นใจนะ คำว่ามั่นใจก็คือพระไม่ได้อยู่ไกลหรอก แค่หัวเรานี่เอง ถ้าคิดว่าพระอยู่ไกล บางทีสมาธิน้อยก็ส่งไม่ถึง เพราะขาดความมั่นใจ ฉะนั้น..พอถึงเวลานึกถึงภาพพระทีไร พระก็อยู่แค่บนหัวเรานี่เอง แล้วพระอยู่เฉพาะพระนิพพาน เพราะฉะนั้น..พระนิพพานก็อยู่แค่บนหัวเรา
ถ้าสรุปเป็นก็ง่าย ถ้าสรุปไม่เป็นก็ยาก สำคัญตรงที่ต้องมั่นใจ การกำหนดภาพพระไม่ใช่ตาเห็น เป็นการเห็นในห้วงนึก ซึ่งสมัยนี้ฮิตกันมากที่ว่า “มโน” ถ้าถามว่าเห็นในห้วงนึกเห็นอย่างไร ก็เหมือนเรานึกถึงบ้าน นึกถึงคนที่เรารู้จัก เราสามารถนึกได้ชัดเจน แต่ไม่ใช่การเห็นด้วยสายตา ดังนั้น..การเห็นอย่าไปเน้นเอารายละเอียด ให้มั่นใจว่ามีภาพพระอยู่ก่อน หลังจากนั้นก็จับลมหายใจภาวนา พร้อมกับนึกถึงภาพพระ
สำคัญตรงที่ว่าต้องมั่นใจ ถ้าไม่มั่นใจทำอย่างไรก็ไปไม่รอด ต่อให้เขาบอกว่าเห็นเราอยู่ที่นั่น แต่ถ้าขาดความมั่นใจก็เท่านั้น มัวแต่ไปอาศัยคนอื่นให้เขาบอกแล้วค่อยมั่นใจ แล้วชาตินี้จะไปเองได้อย่างไร ?"
....................................
พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. วัดท่าขนุน... -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันจันทร์ที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันจันทร์ที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๘ -
พุทธวิธีละอาสวะในปฐมฌาน | ฌานสูตร
พุทธวิธีละอาสวะในปฐมฌาน | ฌานสูตร
*******************
ที่มา มูลนิธิอุทยานธรรม
https://www.youtube.com/@Uttayarndham -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอาทิตย์ที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันอาทิตย์ที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๘ -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันเสาร์ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันเสาร์ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๘ -
"มีศีลเป็นเครื่องวัด" (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี)
"มีศีลเป็นเครื่องวัด"
" .. หลักของการปฏิบัติในทางพุทธศาสนา "คือมีศีลห้าหรือศีลแปด กรรมบถสิบ หรือศีลสิบ ศีลสองร้อยยี่สิบเจ็ด" ก็แล้วแต่ความสามารถของตน นี่เป็นหลักปฏิบัติ "เมื่อเราปฏิบัติได้เราจะเห็นว่า เราละชั่วได้ขนาดไหน" มีข้อปฏิบัติศีลห้า ศีลแปด ศีลสิบประการเป็นต้น
"นี่เป็นเครื่องวัดว่า ความชั่วเราละได้ เพราะศีลนั้นแสดงถึงเรื่องความชั่ว" ถ้าหากเราไม่รักษาศีล เราไม่ปฏิบัติตามศีลก็หมายความว่า ความชั่วของเรายังมีอยู่ "ถ้าเราปฏิบัติก็หมายความว่าเราละความชั่วเป็นข้อ ๆ ได้มากได้น้อย มีศีลเป็นเครื่องวัด" .. "
(หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี)
สิงคโปร์ วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๒๐ -
ข่าวชุมชนคุณธรรมวัดท่าขนุน (พระอาจารย์เล็ก) เดือนมีนาคม ๒๕๖๘
ชุมชนคุณธรรมออนไลน์ Palungjit.org
เครือข่ายชุมชนคุณธรรมวัดท่าขนุน
ขอรวบรวมข่าวกิจกรรมการดำเนินงานของ
พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. (พระอาจารย์เล็ก)
เจ้าอาวาสวัดท่าขนุน อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี
เพื่อให้ทุกท่านได้โมทนาบุญในการทำงานของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
และเพื่อให้ทุกท่านได้ศึกษารูปแบบการดำเนินงานของพระอาจารย์
ซึ่งท่านเป็นต้นแบบการทำงานของ ชุมชนคุณธรรมออนไลน์ Palungjit.org
ข่าวการดำเนินงาน เดือนมีนาคม ๒๕๖๘ -
"ฌาน 2 และ ฌาน 4" ที่สมบูรณ์เป็นอย่างไร
ตอบข้อสงสัยเรื่อง "ฌาน 2 และ ฌาน 4" ที่สมบูรณ์เป็นอย่างไร : หลวงปู่สรวง ปริสุทฺโธ | สิ่งที่เป็นธรรม
ที่มา https://www.youtube.com/@LokuttaraDhamma -
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันศุกร์ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๘
เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันศุกร์ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๘ -
พระอัฑฒกาสีเถรี | ผู้เคยเป็นหญิงแพศยา #เถรีคาถา
พระอัฑฒกาสีเถรี | ผู้เคยเป็นหญิงแพศยา #เถรีคาถา
ที่มา https://www.youtube.com/@Uttayarndham
หน้า 3 ของ 422